บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2018

บทที่ 6 การจัดการไฟล์ (File Management)

รูปภาพ
โดย : นายอาทิตย์ ยลระบิล รหัสนักศึกษา : 6031280069 บทที่ 6 การจัดการไฟล์ (File Management) การจัดการไฟล์ (File Management) •การทำงานในระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมดจำเป็นต้องมีการเก็บและนำ ข้อมูลไปใช้งาน • ขณะที่โปรเซสกำลังทำงานข้อมูลจะเก็บไว้ในหน่วยความจำ ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ดับไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตามข้อมูลทั้งหมดจะสูญหายไป • ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ในหน่วยจัดเก็บข้อมูลสำรอง ซึ่งอาจจะเป็นแผ่นดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ • ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้มีจุดประสงค์เพื่อนำมาใช้งานต่อไป จึงจำเป็นต้อง มีการกำหนดชื่อเพื่อแทนกลุ่มข้อมูล ซึ่งเราเรียกว่า ไฟล์ข้อมูล • นอกจากนี้ถ้าเราจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบจะทำให้การค้นหาไฟล์ข้อมูลที่ต้องการได้ยากหรือช้า ดังนั้นถ้าเราจัดหมวดหมู่ให้กับไฟล์ข้อมูลก็จะทำให้การค้นหาไฟล์ทำได้สะดวกหรือรวดเร็วขึ้น  • การจัดให้ไฟล์เป็นหมวดหมู่ก็คือการจัดเก็บใน ไดเร็กทอรี่ (Directory) หรือโฟลเดอร์ (Folder) ไฟล์ข้อมูล (File) • หมายถึงสิ่งที่บรรจุข้อมูลต่าง ๆ ไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งอาจหมายถึงโปรแกรมหรือข้อมูลที่เ

บทที่ 7 การจัดการอุปกรณ์

บทที่ 7 การจัดการอุปกรณ์ Device Management โดย นาย นาย อาทิตย์ ยลระบิล รหัสนักศึกษา 6031280069 การจัดการอุปกรณ์อินพุต/เอาท์พุต I/O Devices manager การจัดการอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดต่อและเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์เป็นหน้าที่ของ OS อุปกรณ์อินพุต/เอาท์พุต (I/O Devices) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท บล็อกดีไวซ์ (Block devices) คาร์เรกเตอร์ดีไวซ์ (Character device) อุปกรณ์พิเศษ 1.บล็อกดีไวซ์ (Block devices) หมายถึงอุปกรณ์ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้โดยทำการเก็บเป็นบล็อก เช่น Floopy disk, Harddisk, Tape ขนาดของบล็อกมีตั้งแต่ 512-32 , 768 ไบต์ สามารถอ่าน/เขียนข้อมูลลงในแต่ละบล็อกได้โดยอิสระ แบ่งเป็น 2 แบบ อุปกรณ์ที่มีการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct access storage device) ได้แก่ ดิสก์ประเภทต่าง ๆ อุปกรณ์ที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Serial access storage device) ได้แก่ เทป   2.คาร์เรกเตอร์ดีไวซ์ (Character devices) หมายถึงอุปกรณ์ที่รับและส่งข้อมูลเป็นสาย โดยมีบัฟเฟอร์ (Buffer) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูล ข้อมูลที่ส่งเข้ามาหรือส่งออกจะเรียงมาเป็นลำดับก่อนหลัง อุปกร

บทที่ 5ระบบหน่วยความจำเสมือน

รูปภาพ
โดย นายอาทิตย์ ยลระบิล  รหัสนักศึกษา : 6031280069 บทที่ 5ระบบหน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory) ประเภทของการจัดการหน่วยความจำ การจัดการหน่วยความจำ ระบบหน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory) •การจัดการหน่วยความจำสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ –ระบบหน่วยความจำจริง ขนาดของโปรแกรมจะต้องไม่ใหญ่กว่าขนาดของหน่วยความจำที่มีอยู่ ลบด้วยขนาดของหน่วยความจำที่เป็นส่วนของ OS –ระบบหน่วยความจำเสมือนขนาดของโปรแกรมจะมีขนาดเท่าใดก็ได้ แนวคิดของหน่วยความจำเสมือน •ผู้เขียนโปรแกรมหรือผู้ใช้จะไม่ถูกจำกัดในเรื่องของขนาดของหน่วยความจำอีกต่อไป •OS จะจัดการให้ผู้ใช้สามารถใช้หน่วยความจำได้มากกว่าหน่วยความจำจริงที่มีอยู่ •โปรแกรมทั้งโปรแกรมโดยส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกใช้งานพร้อมกันทั้งหมด ซึ่งการทำงานของโปรแกรมจะเริ่มทำงานจากส่วนต้นโปรแกรม แล้วค่อย ๆ เลื่อนลงมาจนกระทั่งถึงท้ายโปรแกรม •ในขณะที่โปรแกรมกำลังทำงานอยู่ที่ส่วนต้นโปรแกรม ที่ปลายโปรแกรมก็ยังไม่ถูกใช้งาน เมื่อโปรแกรมทำงานมาถึงส่วนท้าย ๆ โปรแกรม ส่วนต้น ๆ โปรแกรมก็ไม่ถูกใช้งาน การแปลงแอดเดรส (Address Mapping)

บทที่ 4 การจัดการหน่วยความจำ

รูปภาพ
 โดย : นาย รหัสนักศึกษา : 6031280069 บทที่ 4 การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management) หน่วยความจำหลัก - หน้าที่หน่วยความจำหลัก - เก็บระบบปฏิบัติการ - เก็บโปรแกรมของผู้ใช้ - เก็บข้อมูลที่จะใช้ องค์ประกอบหน่วยความจำ - แอดเดรส (address) - ข้อมูล (data) ความต้องการหน่วยความจำ - ความเร็วสูง - มีความเสถียรสูง - ความจุสูง - ราคาต่ำ ชนิดของหน่วยความจำ หน่วยความจำหลัก - ROM เป็นหน่วยความจำถาวร ไม่สูญเสียข้อมูลแม้ไฟดับ มักใช้เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น - RAM มักจะใช้เป็นหน่วยความจำหลัก มีอยู่ 2 ประเภท คือ static ram และ dynamic ram หน่วยความจำสำรอง  - มีความเร็วช้า เก็บไว้ได้นาน เช่น ดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management) - หน่วยความจำหลักเป็นศูนย์กลางของการทำงานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน - หน่วยความจำหลักคือพื้นที่เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ประกอบด้วย - พื้นที่เก็บข้อมูลย่อย มีหน่วยเป็น Byte - ตำแหน่งหรือที่อยู่ของพื้นที่ย่อย (Address)      ส่วนของ OS ที่ทำหน้าที่จัดการกับหน่วยความจำได้แก่ ตัวจัดการหน่วยความจำ (Memory Man